นักวิชาการขอเป็นกำลังใจให้ครอบครัว"หมอกฤตไท"
ผศ.ดร.ชาคริต โชติอมรศักดิ์ หัวหน้าศูนย์ภูมิภาคเพื่อการศึกษาด้านภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ คณะทำงานด้านวิชาการเพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาหมอกควันภาคเหนือ บอกว่า ได้ติดตามเรื่องราวของหมอกฤตไท ตั้งแต่หมอกฤตไทเริ่มตั้งเพจ สู้ดิวะ ก็ขอเป็นกำลังใจให้กับหมอและครอบครัว
ในฐานะนักวิชาการที่ทำงานด้านPM2.5 และคลุกคลีกับปัญหานี้มานานกว่า 20 ปี ก็อยากบอกคุณหมอกฤตไทว่าคณะทำงานจะเดินหน้าทำงานแก้ไขปัญหานี้อย่างเต็มความสามารถ เพื่อให้เชียงใหม่มีอกาศที่บริสุทธิ์ตลอดทั้งปี
กรุงนิวเดลี เผชิญวิกฤติฝุ่นพิษ PM2.5 พุ่งสูงกว่าระดับร้ายแรง 2 เท่า!
มาอีกองค์! ศาลครูกายแก้วเปิดตัว "นางพญาจิ้งจอกเก้าหาง"
อาจารย์ชาคริต ยังบอกอีกว่า ปัญหาเรื่องฝุ่นละอองขนาดเล็ก ที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปีเหมือนเป็นวังวนของปัญหา ที่เกิดขึ้นมาตามฤดูกาลมาจากปัจจัยหลักๆ 3 ปัจจัยด้วยกันคือ แหล่งกำเนิด เช่นการเผา, , การจราจร, การก่อสร้าง หรือโรงงาน ภูมิประเทศ เนื่องจากภาคเหนือมีลักษณะเป็นแอ่งกระทะ โดยเฉพาะที่เชียงใหม่ และ ลำพูน ที่เป็นแอ่งกระทะขนาดใหญ่ เป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการสะสมของ PM 2.5 และ สภาพอากาศทางอุตุนิยมวิทยา ค่อนข้างเอื้อต่อการสะสม PM2.5 และเอื้อต่อการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงชีวมวล แต่ปัจจัยสภาพอากาศนี้สามารถที่จะเฝ้าระวังได้ และสามารถบริหารจัดการเชื้อเพลิงได้
สำหรับปัญหา PM2.5 ที่กำลังจะมาถึงในปีหน้านี้ คาดว่าจะรุนแรงกว่าปีนี้ เนื่องจากเข้าสู่ช่วงเอลนีโญ ที่จะมีความแห้งแล้งมากกว่าปกติ เอื้อต่อการลุกไหม้ของเชื้อเพลิงทำให้ควบคุมได้ยาก จึงน่าเป็นห่วงในพื้นที่ที่มีการลักลอบเผา ซึ่งต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษ แต่สิ่งที่น่าเป็นห่วงอีกประเด็นคือปัญหาหมอกควันข้ามแดน ที่ไม่สามารถควบคุมได้ ถือเป็นความท้าทาย
คำพูดจาก สล็อตวอเลทล่าสุด
"เศรษฐา" สั่ง "ปานปรีย์" ศึกษาความเหมาะสม ขึ้นเงินเดือนข้าราชการ
เรอัล มาดริด แถลงการณ์โต้ข่าวลือดีล "เอ็มบัปเป้"
“ต้องเต” หวังรัฐจริงจังผลักดันภาพยนตร์ไทย รองเลขาฯ นายกแจง ไม่คิดเคลมความสำเร็จ “สัปเหร่อ”